รายละเอียดโครงการวิจัย
รหัสโครงการ : SRI6010103
ชื่อโครงการ : สถานการณ์และทิศทางการเคลื่อนย้ายประชากรแรงงาน และการย้ายถิ่นเพื่อการศึกษาในอาเซียน
  Situations and Trends of Labors Mobility and Educational Migration in ASEAN
หัวหน้าโครงการ : นฤมล ทับจุมพล : [งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (2 โครงการ) ]
ทีมวิจัย :
นฤมล ทับจุมพล
หัวหน้าโครงการ
รัชดา ไชยคุปต์
นักวิจัยร่วมโครงการ
อังคณา กมลเพ็ชร์
นักวิจัยร่วมโครงการ
ศิวาพร ฟองทอง
นักวิจัยร่วมโครงการ
ณัฐกานต์ อัครพงพิศักดิ์
นักวิจัยร่วมโครงการ
บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล
นักวิจัยร่วมโครงการ
สร้อยมาศ รุ่งมณี
นักวิจัยร่วมโครงการ
ชาคร ประพรหม
นักวิจัยร่วมโครงการ
เปรมใจ วังศิริไพศาล
นักวิจัยร่วมโครงการ
รัตติยา ภูละออ
นักวิจัยร่วมโครงการ
วรัญญา จิตรผ่อง
นักวิจัยร่วมโครงการ
ศิริจิต สุนันต๊ะ
นักวิจัยร่วมโครงการ
เริงชัย ตันสกุล
นักวิจัยร่วมโครงการ
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
นักวิจัยร่วมโครงการ
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
นักวิจัยร่วมโครงการ
วาสนา ละอองปลิว
นักวิจัยร่วมโครงการ
ผจงรักษ์ กุยแก้ว
นักวิจัยร่วมโครงการ
วันที่เริ่มโครงการ : 16 ส.ค. 2560
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายประชากรในอาเซียนหลัง 2015 เช่น การย้ายถิ่นของแรงงานฝีมือในประเทศอาเซียน การขยายตัวของพืชเครือข่ายการขนส่งฟองสบู่และการย้ายถิ่นในภาคเกษตร การย้ายถิ่นของแรงงานสตรีไร้ฝีมือเพื่อพัฒนาไปสู่แรงงานกึ่งฝีมือ และการย้ายถิ่นระยะสั้นด้านการศึกษาในประเทศอาเซียนในบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยและประเทศอาเซียน (หลังเดือนธันวาคม 2558)

2. เพื่อศึกษารูปแบบ ทิศทางและแนวโน้มในอนาคตของการค้า การลงทุนทางตรงแบบข้ามพรมแดน ( Cross-border Foreign Direct Investment) กับผลกระทบต่อการเคลื่อนย้ายประชากรในบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยและการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3. เพื่อศึกษาการปรับตัวของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาโดยให้น้ำหนักต่อการเคลื่อนย้ายประชากร นอกเหนือไปจากการเคลื่อนย้ายทุนของอาเซียนในอดีตที่จะได้หรือเสียประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลมาจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในเดือนธันวาคม 2558

4. เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้แบบข้ามสาขาวิชาและข้ามพรมแดนขององค์ความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาคโดยให้น้ำหนักต่อการเคลื่อนย้ายประชากรหลังการรวมตัวของอาเซียนและสร้างเสนอเชิงนโยบายต่อทิศทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนของประเทศไทย ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อกับชายแดนประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน

สถิติการเปิดชม : 480 ครั้ง
ดาวน์โหลด : 39 ครั้้ง
  แจ้งปัญหาการดาวน์โหลดที่นี่
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)
รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper)
บทคัดย่อ (Abstract) :
แสดงบทคัดย่อ


เลือกดาวน์โหลดแบบลิงค์
:
 

Telephone

02 278 8200

Address

ชั้น 14 อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ 979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400